Skip to content
LIVE @psusci Language
คณะวิทยาศาสตร์
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับคณะ
    • ข้อมูลคณะ
      • ประวัติ
      • ทีมบริหาร
      • วิดีโอแนะนำคณะ
      • แผนผังคณะ
      • ทุนสนับสนุน
      • รายงานประจำปี

      • MOU
    • อัตลักษณ์
      • สีประจำคณะ
      • ตราสัญลักษณ์
      • PowerPoint Templates
      • Zoom Virtual Backgrounds
    • บุคลากร
      • ทุนสนับสนุนผลงานวิชาการ
      • รายชื่อบุคลากร
    • สารสนเทศ
      • แบบฟอร์ม / แบบประเมิน
      • ระบบสารสนเทศ
      • คู่มือ / แนะนำการใช้งาน
  • สาขา
    • 1
      • วิทยาศาสตร์กายภาพ
      • เคมี
      • ฟิสิกส์
      • วัสดุศาสตร์
      • วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์
      • ธรณีฟิสิกส์
      • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์
      • หลักสูตรทั้งหมด
    • 2
      • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
      • ชีววิทยา
      • จุลชีววิทยา
      • เทคโนโลยีชีวภาพ
      • เทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ
      • หลักสูตรทั้งหมด
    • 3
      • วิทยาศาสตร์การคำนวณ
      • คณิตศาสตร์
      • สถิติ
      • วิทยาการคอมพิวเตอร์
      • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
      • เทคโนโลยีสารสนเทศ
      • หลักสูตรทั้งหมด
    • 4
      • วิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์ประยุกต์
        • เคมี-ชีววิทยาประยุกต์
        • กายวิภาคศาสตร์
        • สรีรวิทยา
        • เภสัชวิทยา
        • นิติวิทยาศาสตร์
        • ชีวเคมี
        • หลักสูตรทั้งหมด
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี
    • ปริญญาโท
    • ปริญญาเอก
  • กลุ่มงาน
    • 1
      • วิชาการ
        • 4 สาขา
      • วิจัยและนวัตกรรม
        • 3 สถานวิจัยความเป็นเลิศ
        • 2 ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ
        • 2 สถานวิจัย
        • 7 หน่วยวิจัย
      • พันธกิจเพื่อสังคม
        • 6 ศูนย์บริการ
    • 2
      • บริหาร
        • งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
        • งานสนับสนุนการวิจัย
        • งานสนับสนุนการบริการวิชาการ
        • งานพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
        • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีการศึกษา)
        • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ)
        • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยวิเทศสัมพันธ์)
        • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยประชาสัมพันธ์)
        • งานบริหารทรัพยากรมนุษย์
        • งานบริการกลาง
        • งานสนับสนุนด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม
        • งานพัสดุ
        • งานการเงินและบัญชี
        • งานแผนและประกันคุณภาพ
        • งานบำรุงรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ข่าว
    • ทั่วไป
      • บริการวิชาการ
      • ความร่วมมือ
      • วิจัย
      • กิจกรรม
      • ดูงาน
      • อื่น ๆ

      • ทั้งหมด
    • รางวัล
      • นักศึกษา
      • บุคลากร
      • ศิษย์เก่า
      • องค์กร

      • ทั้งหมด
    • รับสมัคร
      • รับสมัครนักศึกษา
      • รับสมัครงาน
    • จัดซื้อจัดจ้าง
      • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
      • ประกาศราคากลาง

      • ทั้งหมด
    • More News
      • New Species
      • Science Channel
      • Podcast
      • สารจากทีมบริหาร
      • ข่าวในสื่อ
      • Newsletter
      • มาตรการ COVID-19
    • Special Projects
      • สัปดาห์วิทยาศาสตร์
      • Sci-Jai (ใส่ใจ)
      • มุทิตาจิตผู้เกษียณอายุงาน
      • Virtual Run 2020
      • ความสำเร็จของศิษย์เก่า
      • Science Inspiration Talk
      • พาดาวมาหาน้อง ท่องโลกวิทยาศาสตร์
      • กระปุกออมสินเพื่อน้อง
      • บัณฑิต ปีการศึกษา ’63
      • นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา ’65
      • กองทุนต้นกล้าบานบุรี
    • More Menus
      • บริจาคร่างกาย
      • สมาคมศิษย์เก่า
      • ระบบลงเวลาปฏิบัติงาน (Sci App)

      • ติดต่อ
    • Other Links
      • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
      • กองบริหารทรัพยากรบุคคล

      • Competency Online
      • TOR Online
      • HR MIS
      • MIS DSS

      • Payroll PSU
      • E-DOC PSU
      • PSU TPSF

      • PSU Museum
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับคณะ
    • ข้อมูลคณะ
      • ประวัติ
      • ทีมบริหาร
      • วิดีโอแนะนำคณะ
      • แผนผังคณะ
      • ทุนสนับสนุน
      • รายงานประจำปี

      • MOU
    • อัตลักษณ์
      • สีประจำคณะ
      • ตราสัญลักษณ์
      • PowerPoint Templates
      • Zoom Virtual Backgrounds
    • บุคลากร
      • ทุนสนับสนุนผลงานวิชาการ
      • รายชื่อบุคลากร
    • สารสนเทศ
      • แบบฟอร์ม / แบบประเมิน
      • ระบบสารสนเทศ
      • คู่มือ / แนะนำการใช้งาน
  • สาขา
    • 4 สาขา
      • วิทยาศาสตร์กายภาพ
      • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
      • วิทยาศาสตร์การคำนวณ
      • วิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์ประยุกต์
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี
    • ปริญญาโท
    • ปริญญาเอก
  • กลุ่มงาน
    • วิชาการ
      • 4 สาขา
    • วิจัยและนวัตกรรม
      • 3 สถานวิจัยความเป็นเลิศ
      • 2 ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ
      • 2 สถานวิจัย
      • 7 หน่วยวิจัย
    • พันธกิจเพื่อสังคม
      • 6 ศูนย์บริการ
    • บริหาร
      • งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
      • งานสนับสนุนการวิจัย
      • งานสนับสนุนการบริการวิชาการ
      • งานพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
      • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีการศึกษา)
      • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ)
      • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยวิเทศสัมพันธ์)
      • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยประชาสัมพันธ์)
      • งานบริหารทรัพยากรมนุษย์
      • งานบริการกลาง
      • งานสนับสนุนด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม
      • งานพัสดุ
      • งานการเงินและบัญชี
      • งานแผนและประกันคุณภาพ
      • งานบำรุงรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ข่าว
    • ทั่วไป
      • บริการวิชาการ
      • ความร่วมมือ
      • วิจัย
      • กิจกรรม
      • ดูงาน
      • อื่น ๆ

      • ทั้งหมด
    • รางวัล
      • นักศึกษา
      • บุคลากร
      • ศิษย์เก่า
      • องค์กร

      • ทั้งหมด
    • รับสมัคร
      • รับสมัครนักศึกษา
      • รับสมัครงาน
    • จัดซื้อจัดจ้าง
      • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
      • ประกาศราคากลาง

      • ทั้งหมด
    • More News
      • New Species
      • Science Channel
      • Podcast
      • สารจากทีมบริหาร
      • ข่าวในสื่อ
      • Newsletter
      • มาตรการ COVID-19
    • Special Projects
      • สัปดาห์วิทยาศาสตร์
      • Sci-Jai (ใส่ใจ)
      • มุทิตาจิตผู้เกษียณอายุงาน
      • Virtual Run 2020
      • ความสำเร็จของศิษย์เก่า
      • Science Inspiration Talk
      • พาดาวมาหาน้อง ท่องโลกวิทยาศาสตร์
      • กระปุกออมสินเพื่อน้อง
      • บัณฑิต ปีการศึกษา ’63
      • นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา ’65
      • กองทุนต้นกล้าบานบุรี
    • More Menus
      • บริจาคร่างกาย
      • สมาคมศิษย์เก่า
      • ระบบลงเวลาปฏิบัติงาน (Sci App)

      • ติดต่อ
    • Other Links
      • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
      • กองบริหารทรัพยากรบุคคล

      • Competency Online
      • TOR Online
      • HR MIS
      • MIS DSS

      • Payroll PSU
      • E-DOC PSU
      • PSU TPSF

      • PSU Museum
คณะวิทยาศาสตร์ / หลักสูตร / ปริญญาโท / วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)
2564
2559
2564

  • ชื่อหลักสูตร
  • ชื่อปริญญา
  • จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร
  • ปรัชญาการศึกษา
  • ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLOs)
  • โครงสร้างหลักสูตร
  • แผนการศึกษา
  • เกณฑ์การรับเข้า
  • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
  • รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)
  • รายชื่อบุคลากร
  • ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)

Last updated on วันพฤหัสบดี, กันยายน 30, 2021 12:05 AM

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2564

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา)
  • Master of Science (Biology)

ชื่อย่อ

  • วท.ม. (ชีววิทยา)
  • M.Sc. (Biology)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

  • ก แบบ ก 1 จำนวน 36 หน่วยกิต
  • ก แบบ ก 2 จำนวน 36 หน่วยกิต

 

ปรัชญาการศึกษา

ปรัชญาการศึกษามหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก่อตั้งขึ้นตามนโยบายการพัฒนาภาคใต้ โดยมีเจตนารมณ์ตั้งแต่แรกเริ่มที่จะให้เป็นมหาวิทยาลัยหลักของภาคใต้ ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นที่การพัฒนาคนเพื่อให้เป็นกำลังหลักของสังคม และยึดตามแนวทางการจัดการศึกษาของชาติที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

ปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงเป็นการจัดการศึกษาตามแนวทาง พิพัฒนาการนิยม (Progressivism) คือ การพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน เพื่อให้พร้อมที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และปรับตัวได้ดีตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป โดย ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ของการเรียนรู้ และพัฒนาจากความต้องการของผู้เรียน ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาและค้นคว้าด้วยตนเอง กระบวนการที่ต้อง ลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่ยั่งยืน และจากแนวคิดที่ว่าการพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้จึงไม่ได้หยุดอยู่เพียงภายในมหาวิทยาลัยแต่จะดำเนินไปตลอดชีวิต การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นถึง การเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วย

จากหลักการดังกล่าวข้างต้นนำสู่ การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ (Outcome Based Education) โดยการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่มหาวิทยาลัยเชื่อว่าสามารถตอบสนองหลักการดังกล่าวได้ คือ การจัดการเรียนรู้ ที่ ใช้กิจกรรมหรือการปฏิบัติ (Active learning) ที่หลากหลาย โดยเฉพาะ การใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ (Problem-based Learning) การใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) และการเรียนรู้โดยการบริการสังคม (Service Learning) และยึดพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก “ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” เป็นแนวทางในการดำเนินการ

ปรัชญาการศึกษาหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มีการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางพิพัฒนาการนิยม โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมหาบัณฑิตสาขาชีววิทยา ที่สามารถประยุกต์ความรู้ทางชีววิทยาเพื่อออกแบบและปฏิบัติการวิจัยที่เป็นมาตรฐานระดับนานาชาติสื่อสารความรู้สู่สาธารณะโดยใช้สื่อรูปแบบต่างๆ ได้ขณะเดียวกันก็เป็นงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของประเทศ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติวิทยาของพืชหรือสัตว์ในบริเวณคาบสมุทรมาลายูได้แก่ด้านเซลล์และพันธุศาสตร์ด้านสรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ด้านอนุกรมวิธานและความหลากหลาย และด้านนิเวศวิทยา พร้อมทั้งสามารถติดตามความก้าวหน้าในแขนงวิชาที่สนใจ ตลอดจนเป็นนักวิจัยที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณทางวิชาการ เพื่อพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพอันจะนําไปสู่การพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLOs)

  • PLO 1 ประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านชีววิทยา เพื่อแก้ปัญหาทางธรรมชาติวิทยาของพืชหรือสัตว์บริเวณคาบสมุทรมาลายูได้
  • PLO 2 เลือกใช้เครื่องมือวิจัยเพื่อทดสอบสมมติฐานของการวิจัยทางชีววิทยาได้
  • PLO 3 ใช้เทคโนโลยสีารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
  • PLO 4 สื่อสารและนำเสนอข้อมูลทางวิชาการได้อย่างถูกต้องและตรงประเด็น
  • PLO 5 แสดงออกถึงการมีจรรยาบรรณทางวิชาการและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
  • PLO 6 ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ในการทำงานเป็นทีม

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 1

36

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

36

หน่วยกิต

แผน ก แบบ ก 2

36

หน่วยกิต

– หมวดวิชาบังคับ

5

หน่วยกิต

– หมวดวิชาเลือก

11

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

20

หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตรพร้อมรายวิชา

แผนการศึกษา

แผนการศึกษาตลอดหลักสูตร

เกณฑ์การรับเข้า

  • แผน ก 1
  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาวิชาชีววิทยา หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.50 หรือเทียบเท่า และได้ผ่านการทำงานวิจัยหรือโครงงานที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยา
  2. มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่สมัครเข้าศึกษา เช่น TOEFL (Paper Based) ไม่น้อยกว่า 450 คะแนน, IELTS ไม่ น้อยกว่า 4.0 คะแนน, CU-TEP ไม่น้อยกว่า 45 คะแนน, PSU-TEP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45, หรือผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษอื่นตามดุลยพินิจของคณะกรรมการสอบคัดเลือก
  3. คุณสมบัติอื่นนอกเหนือจากที่ระบุข้างต้นให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  4. คุณสมบัติอื่น ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาชั้นบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563
  • แผน ก 2
  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า สาขาชีววิทยา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือเทียบเท่า หรือ
  2. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาตามข้อ 1 มีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 2.50 แต่มีประสบการณ์ในการทำงานวิจัยในสาขาวิชาชีววิทยาหรือสาขาที่เกี่ยวข้องมาไม่น้อยกว่า 1 ปี และมีเอกสารหลักฐานรับรอง
  3. มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่สมัครเข้าศึกษา เช่น TOEFL (Paper Based) ไม่น้อยกว่า 450 คะแนน, IELTS ไม่ น้อยกว่า 4.0 คะแนน, CU-TEP ไม่น้อยกว่า 45 คะแนน, PSU-TEP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45, หรือผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษอื่นตามดุลยพินิจของคณะกรรมการสอบคัดเลือก
  4. คุณสมบัติอื่นนอกเหนือจากที่ระบุข้างต้นให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  5. คุณสมบัติอื่น ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาชั้นบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563

 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาชั้นบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558  โดยมีรายละเอียด ดังนี้

  • แผน ก1
  1. เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ
  2. สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 เรื่อง และ
  3. ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก
  • แผน ก2
  1. ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ
  2. สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ(Proceedings) ดังกล่าว อย่างน้อย 1 เรื่อง และ
  3. ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาที่กำหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

 

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

มคอ.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

รายชื่อบุคลากร

บุคลากรสังกัดชีววิทยา

ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ผ่านการประเมินสมรรถนะอาจารย์ด้านการเรียนการสอน UKPSF ระดับ Fellow
  • รางวัล
รศ.ดร.พิมพ์ชนก บัวเพชร คว้า 1 ใน 3 สตรีที่ได้รับรางวัล จากโครงการทุนวิจัย L’OREAL เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้ผ่านการประเมิน UK Professional Standard Framework (UKPSF) ระดับ Fellow
  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ที่คว้ารางวัลในเวที TST 10
  • Science Channel
‘ยางยั่งยืน’ กับอนาคตสำคัญของเกษตรกรชาวสวน
  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับ ดร.ปฐมฤกษ์ อิงสันเทียะ ได้ผ่านการประเมินระดับ Senior Fellow
ดูข่าวทั้งหมดของหลักสูตร

2559

  • ชื่อหลักสูตร
  • ชื่อปริญญา
  • จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร
  • ปรัชญาการศึกษา
  • ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELOs) ระดับหลักสูตร
  • โครงสร้างหลักสูตร
  • แผนการศึกษา
  • เกณฑ์การรับเข้า
  • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
  • รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)
  • รายชื่อบุคลากร
  • ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)

Last updated on วันพฤหัสบดี, กันยายน 30, 2021 12:05 AM

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2559

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา)
  • Master of Science (Biology)

ชื่อย่อ

  • วท.ม. (ชีววิทยา)
  • M.Sc. (Biology)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

  • ก แบบ ก 1 จำนวน 36 หน่วยกิต
  • ก แบบ ก 2 จำนวน 36 หน่วยกิต

 

ปรัชญาการศึกษา

ปรัชญาการศึกษามหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก่อตั้งขึ้นตามนโยบายการพัฒนาภาคใต้ โดยมีเจตนารมณ์ตั้งแต่แรกเริ่มที่จะให้เป็นมหาวิทยาลัยหลักของภาคใต้ ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นที่การพัฒนาคนเพื่อให้เป็นกำลังหลักของสังคม และยึดตามแนวทางการจัดการศึกษาของชาติที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

ปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงเป็นการจัดการศึกษาตามแนวทาง พิพัฒนาการนิยม (Progressivism) คือ การพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน เพื่อให้พร้อมที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และปรับตัวได้ดีตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป โดย ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ของการเรียนรู้ และพัฒนาจากความต้องการของผู้เรียน ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาและค้นคว้าด้วยตนเอง กระบวนการที่ต้อง ลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่ยั่งยืน และจากแนวคิดที่ว่าการพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้จึงไม่ได้หยุดอยู่เพียงภายในมหาวิทยาลัยแต่จะดำเนินไปตลอดชีวิต การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นถึง การเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วย

จากหลักการดังกล่าวข้างต้นนำสู่ การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ (Outcome Based Education) โดยการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่มหาวิทยาลัยเชื่อว่าสามารถตอบสนองหลักการดังกล่าวได้ คือ การจัดการเรียนรู้ ที่ ใช้กิจกรรมหรือการปฏิบัติ (Active learning) ที่หลากหลาย โดยเฉพาะ การใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ (Problem-based Learning) การใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) และการเรียนรู้โดยการบริการสังคม (Service Learning) และยึดพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก “ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” เป็นแนวทางในการดำเนินการ

ปรัชญาการศึกษาหลักสูตร

เน้นการผลิตมหาบัณฑิตที่มีองค์ความรู้ลึกซึ้งทางชีววิทยา มีทักษะการเรียนรู้ของศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบด้วยการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสร้างองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ  นำไปสู่ความสามารถที่จะถ่ายทอดความรู้ในรูปผลงานตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติได้ อีกทั้งสามารถสื่อสารความรู้สู่สาธารณะโดยใช้สื่อรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเข้าใจปัญหาและนำมาคิดวิเคราะห์สร้างโจทย์วิจัยที่ นำไปสู่ความเข้าใจอย่างลุ่มลึกต่อทรัพยากรชีวภาพและระบบนิเวศโดยเฉพาะในเขตเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELOs) ระดับหลักสูตร

คุณธรรม จริยธรรม

  1. มีความซื่อสัตย์สุจริต
  2. มีระเบียบวินัย
  3. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
  4. เคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่น
  5. มีจิตสาธารณะ

ความรู้

  1. มีความรู้ทั่วไป หลักการและทฤษฎีทางชีววิทยา
  2. สามารถนำความรู้ทั่วไป หลักการและทฤษฎีมาประยุกต์ใช้และอธิบายหลักการและทฤษฎีทางด้านชีววิทยา
  3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านชีววิทยา
  4. ทราบถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชาชีพและสังคม

ทักษะทางปัญญา

  1. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุมีผลตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
  2. นำความรู้ทางชีววิทยาไปประยุกต์กับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  3. มีความใฝ่รู้ สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่หลากหลายได้อย่างถูกต้องและสร้างสรรค์

ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

  1. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและสมาชิกที่ดี
  2. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและองค์กร
  3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรที่ไปปฏิบัติงาน

ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

  1. สามารถประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติ เพื่อการวิเคราะห์ ประมวลผล การแก้ปัญหา และนำเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
  2. มีทักษะในการสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
  3. มีทักษะและความรู้ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่น เพื่อการค้นคว้าได้อย่างเหมาะสม
  4. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นและเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์

 

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 1

36

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

36

หน่วยกิต

แผน ก แบบ ก 2

36

หน่วยกิต

– หมวดวิชาบังคับ

2

หน่วยกิต

– หมวดวิชาเลือก

14

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

20

หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตรพร้อมรายวิชา

แผนการศึกษา

แผนการศึกษาตลอดหลักสูตร

เกณฑ์การรับเข้า

ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในหลักสูตรที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รับรองวิทยฐานะ มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้

  1. แผน ก แบบ ก 1
    • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี สาขาชีววิทยา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.50 และเคยผ่านการทำงานวิจัยหรือโครงงานที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยา
    • มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน 2 ปี ณ วันสมัครเข้าศึกษา เช่น TOEFL (Paper Based) ไม่น้อยกว่า 450 คะแนน, TOEFL (Computer Based) ไม่น้อยกว่า 133 คะแนน, TOEFL (Internet Based, iBT) ไม่น้อยกว่า 45 คะแนน, IELTS ไม่น้อยกว่า 4.0 คะแนน, CU-TEP ไม่น้อยกว่า 45 คะแนน หรือ PSU-TEP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นกรณีไป        
  1. แผน ก แบบ ก 2 
    • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี สาขาชีววิทยา หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือเป็นผู้มีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยในสาขาวิชาชีววิทยาหรือสาขาที่เกี่ยวข้องมาไม่น้อยกว่า 2 ปี ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
    • มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน 2 ปี   ณ วันสมัครเข้าศึกษา เช่น TOEFL (Paper Based) ไม่น้อยกว่า 450 คะแนน, TOEFL (Computer Based) ไม่น้อยกว่า 133 คะแนน, TOEFL (Internet Based, iBT) ไม่น้อยกว่า 45 คะแนน, IELTS ไม่น้อยกว่า 4.0 คะแนน, CU-TEP ไม่น้อยกว่า 45 คะแนน หรือ PSU-TEP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นกรณีไป

 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ดังนี้

  • แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่หลักสูตรแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 ฉบับ
  • แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตรโดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่หลักสูตรแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ต้องได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว อย่างน้อย 1 ฉบับ

 

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

มคอ.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

รายชื่อบุคลากร

บุคลากรสังกัดชีววิทยา

ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ผ่านการประเมินสมรรถนะอาจารย์ด้านการเรียนการสอน UKPSF ระดับ Fellow
  • รางวัล
รศ.ดร.พิมพ์ชนก บัวเพชร คว้า 1 ใน 3 สตรีที่ได้รับรางวัล จากโครงการทุนวิจัย L’OREAL เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้ผ่านการประเมิน UK Professional Standard Framework (UKPSF) ระดับ Fellow
  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ที่คว้ารางวัลในเวที TST 10
  • Science Channel
‘ยางยั่งยืน’ กับอนาคตสำคัญของเกษตรกรชาวสวน
  • รางวัล
ขอแสดงความยินดีกับ ดร.ปฐมฤกษ์ อิงสันเทียะ ได้ผ่านการประเมินระดับ Senior Fellow
ดูข่าวทั้งหมดของหลักสูตร

เกี่ยวกับคณะ

  • ประวัติ
  • อัตลักษณ์
  • ทีมบริหาร
  • วิดีโอแนะนำคณะ
  • แผนผังคณะ
  • ทุนสนับสนุน
  • รายงานประจำปี
  • MOU

  • ทุนสนับสนุนผลงานวิชาการ
  • รายชื่อบุคลากร

  • แบบฟอร์ม / แบบประเมิน
  • ระบบสารสนเทศ
  • คู่มือ / แนะนำการใช้งาน

  • ติดต่อ

กลุ่มงาน

  • วิชาการ
  • วิจัยและนวัตกรรม
  • พันธกิจเพื่อสังคม
  • บริหาร

ข่าว

  • ทั่วไป
  • รางวัล
  • รับสมัครงาน
  • รับสมัครนักศึกษา
  • จัดซื้อจัดจ้าง
  • New Species
  • Science Channel
  • Podcast
  • สารจากทีมบริหาร
  • ข่าวในสื่อ
  • Newsletter
  • มาตรการ COVID-19

อื่น ๆ

  • บริจาคร่างกาย
  • สมาคมศิษย์เก่า
  • ศูนย์บริการสัตว์ทดลอง
  • ศูนย์บริการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน
  • บริการวิชาการ
  • SCI Publication Clinic

  • ระบบลงเวลาปฏิบัติงาน (Sci App)

  • Facebook
  • Instagram
  • Twitter
  • YouTube
© 2022 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Search this website
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของคุณบนเว็บไซต์ของเรา ศึกษานโยบายและรายละเอียดของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ่านเพิ่มเติม
Cookie SettingsAccept All
Manage consent

Privacy Overview

This website uses cookies to improve your experience while you navigate through the website. Out of these, the cookies that are categorized as necessary are stored on your browser as they are essential for the working of basic functionalities of the website. We also use third-party cookies that help us analyze and understand how you use this website. These cookies will be stored in your browser only with your consent. You also have the option to opt-out of these cookies. But opting out of some of these cookies may affect your browsing experience.
Necessary
Always Enabled
Necessary cookies are absolutely essential for the website to function properly. These cookies ensure basic functionalities and security features of the website, anonymously.
CookieDurationDescription
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Analytics".
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsThe cookie is set by GDPR cookie consent to record the user consent for the cookies in the category "Functional".
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookies is used to store the user consent for the cookies in the category "Necessary".
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Other.
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Performance".
viewed_cookie_policy11 monthsThe cookie is set by the GDPR Cookie Consent plugin and is used to store whether or not user has consented to the use of cookies. It does not store any personal data.
Functional
Functional cookies help to perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collect feedbacks, and other third-party features.
Performance
Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.
Analytics
Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.
Advertisement
Advertisement cookies are used to provide visitors with relevant ads and marketing campaigns. These cookies track visitors across websites and collect information to provide customized ads.
Others
Other uncategorized cookies are those that are being analyzed and have not been classified into a category as yet.
SAVE & ACCEPT
Choose Language
  • ไทยไทย