Skip to content
LIVE @psusci Language
คณะวิทยาศาสตร์
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับคณะ
    • ข้อมูลคณะ
      • ประวัติ
      • ทีมบริหาร
      • วิดีโอแนะนำคณะ
      • แผนผังคณะ
      • ทุนสนับสนุน
      • รายงานประจำปี

      • MOU
    • อัตลักษณ์
      • สีประจำคณะ
      • ตราสัญลักษณ์
      • PowerPoint Templates
      • Zoom Virtual Backgrounds
    • บุคลากร
      • ทุนสนับสนุนผลงานวิชาการ
      • รายชื่อบุคลากร
      • PSU-TPSF / UKPSF
    • สารสนเทศ
      • แบบประเมินความพึงพอใจ
      • แบบฟอร์ม
      • ระบบสารสนเทศ
      • คู่มือ / แนะนำการใช้งาน
  • สาขา
    • 1
      • วิทยาศาสตร์กายภาพ
      • เคมี
      • ฟิสิกส์
      • วัสดุศาสตร์
      • วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์
      • ธรณีฟิสิกส์
      • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์
      • หลักสูตรทั้งหมด
    • 2
      • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
      • ชีววิทยา
      • จุลชีววิทยา
      • เทคโนโลยีชีวภาพ
      • เทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ
      • หลักสูตรทั้งหมด
    • 3
      • วิทยาศาสตร์การคำนวณ
      • คณิตศาสตร์
      • สถิติ
      • วิทยาการคอมพิวเตอร์
      • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
      • เทคโนโลยีสารสนเทศ
      • หลักสูตรทั้งหมด
    • 4
      • วิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์ประยุกต์
        • เคมี-ชีววิทยาประยุกต์
        • กายวิภาคศาสตร์
        • สรีรวิทยา
        • เภสัชวิทยา
        • นิติวิทยาศาสตร์
        • ชีวเคมี
        • หลักสูตรทั้งหมด
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี
    • ปริญญาโท
    • ปริญญาเอก
  • กลุ่มงาน
    • 1
      • วิชาการ
        • 4 สาขา
      • วิจัยและนวัตกรรม
        • 3 สถานวิจัยความเป็นเลิศ
        • 2 ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ
        • 2 สถานวิจัย
        • 7 หน่วยวิจัย
      • พันธกิจเพื่อสังคม
        • 6 ศูนย์บริการ
    • 2
      • บริหาร
        • งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
        • งานสนับสนุนการวิจัย
        • งานสนับสนุนการบริการวิชาการ
        • งานพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
        • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีการศึกษา)
        • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ)
        • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยวิเทศสัมพันธ์)
        • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยประชาสัมพันธ์)
        • งานบริหารทรัพยากรมนุษย์
        • งานบริการกลาง
        • งานสนับสนุนด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม
        • งานพัสดุ
        • งานการเงินและบัญชี
        • งานแผนและประกันคุณภาพ
        • งานบำรุงรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ข่าว
    • ทั่วไป
      • บริการวิชาการ
      • ความร่วมมือ
      • วิจัย
      • กิจกรรม
      • ดูงาน
      • อื่น ๆ

      • ทั้งหมด
    • รางวัล
      • นักศึกษา
      • บุคลากร
      • ศิษย์เก่า
      • องค์กร

      • ทั้งหมด
    • รับสมัคร
      • รับสมัครนักศึกษา
      • รับสมัครงาน
    • จัดซื้อจัดจ้าง
      • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
      • ประกาศราคากลาง

      • ทั้งหมด
    • More News
      • New Species
      • Science Channel
      • Podcast
      • สารจากทีมบริหาร
      • ข่าวในสื่อ
      • Newsletter
      • มาตรการ COVID-19
    • Special Projects
      • สัปดาห์วิทยาศาสตร์
      • Sci-Jai (ใส่ใจ)
      • มุทิตาจิตผู้เกษียณอายุงาน
      • Virtual Run 2020
      • ความสำเร็จของศิษย์เก่า
      • Science Inspiration Talk
      • พาดาวมาหาน้อง ท่องโลกวิทยาศาสตร์
      • กระปุกออมสินเพื่อน้อง
      • บัณฑิต ปีการศึกษา ’63
      • นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา ’65
      • กองทุนต้นกล้าบานบุรี
      • โครงการ วมว.
    • More Menus
      • บริจาคร่างกาย
      • สมาคมศิษย์เก่า
      • ระบบลงเวลาปฏิบัติงาน (Sci App)

      • ติดต่อ
    • Other Links
      • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
      • กองบริหารทรัพยากรบุคคล

      • Competency Online
      • TOR Online
      • HR MIS
      • MIS DSS

      • Payroll PSU
      • E-DOC PSU
      • PSU TPSF

      • PSU Museum
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับคณะ
    • ข้อมูลคณะ
      • ประวัติ
      • ทีมบริหาร
      • วิดีโอแนะนำคณะ
      • แผนผังคณะ
      • ทุนสนับสนุน
      • รายงานประจำปี

      • MOU
    • อัตลักษณ์
      • สีประจำคณะ
      • ตราสัญลักษณ์
      • PowerPoint Templates
      • Zoom Virtual Backgrounds
    • บุคลากร
      • ทุนสนับสนุนผลงานวิชาการ
      • รายชื่อบุคลากร
      • PSU-TPSF / UKPSF
    • สารสนเทศ
      • แบบประเมินความพึงพอใจ
      • แบบฟอร์ม
      • ระบบสารสนเทศ
      • คู่มือ / แนะนำการใช้งาน
  • สาขา
    • 4 สาขา
      • วิทยาศาสตร์กายภาพ
      • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
      • วิทยาศาสตร์การคำนวณ
      • วิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์ประยุกต์
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี
    • ปริญญาโท
    • ปริญญาเอก
  • กลุ่มงาน
    • วิชาการ
      • 4 สาขา
    • วิจัยและนวัตกรรม
      • 3 สถานวิจัยความเป็นเลิศ
      • 2 ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ
      • 2 สถานวิจัย
      • 7 หน่วยวิจัย
    • พันธกิจเพื่อสังคม
      • 6 ศูนย์บริการ
    • บริหาร
      • งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
      • งานสนับสนุนการวิจัย
      • งานสนับสนุนการบริการวิชาการ
      • งานพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
      • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีการศึกษา)
      • งานสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี (หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ)
      • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยวิเทศสัมพันธ์)
      • งานเครือข่ายและประชาสัมพันธ์ (หน่วยประชาสัมพันธ์)
      • งานบริหารทรัพยากรมนุษย์
      • งานบริการกลาง
      • งานสนับสนุนด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม
      • งานพัสดุ
      • งานการเงินและบัญชี
      • งานแผนและประกันคุณภาพ
      • งานบำรุงรักษาเครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ข่าว
    • ทั่วไป
      • บริการวิชาการ
      • ความร่วมมือ
      • วิจัย
      • กิจกรรม
      • ดูงาน
      • อื่น ๆ

      • ทั้งหมด
    • รางวัล
      • นักศึกษา
      • บุคลากร
      • ศิษย์เก่า
      • องค์กร

      • ทั้งหมด
    • รับสมัคร
      • รับสมัครนักศึกษา
      • รับสมัครงาน
    • จัดซื้อจัดจ้าง
      • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
      • ประกาศราคากลาง

      • ทั้งหมด
    • More News
      • New Species
      • Science Channel
      • Podcast
      • สารจากทีมบริหาร
      • ข่าวในสื่อ
      • Newsletter
      • มาตรการ COVID-19
    • Special Projects
      • สัปดาห์วิทยาศาสตร์
      • Sci-Jai (ใส่ใจ)
      • มุทิตาจิตผู้เกษียณอายุงาน
      • Virtual Run 2020
      • ความสำเร็จของศิษย์เก่า
      • Science Inspiration Talk
      • พาดาวมาหาน้อง ท่องโลกวิทยาศาสตร์
      • กระปุกออมสินเพื่อน้อง
      • บัณฑิต ปีการศึกษา ’63
      • นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา ’65
      • กองทุนต้นกล้าบานบุรี
      • โครงการ วมว.
    • More Menus
      • บริจาคร่างกาย
      • สมาคมศิษย์เก่า
      • ระบบลงเวลาปฏิบัติงาน (Sci App)

      • ติดต่อ
    • Other Links
      • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
      • กองบริหารทรัพยากรบุคคล

      • Competency Online
      • TOR Online
      • HR MIS
      • MIS DSS

      • Payroll PSU
      • E-DOC PSU
      • PSU TPSF

      • PSU Museum
คณะวิทยาศาสตร์ / หลักสูตร / ปริญญาโท / วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ)
2564
2560
2564

  • ชื่อหลักสูตร
  • ชื่อปริญญา
  • จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร
  • ปรัชญาการศึกษา
  • ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLOs)
  • โครงสร้างหลักสูตร
  • แผนการศึกษา
  • เกณฑ์การรับเข้า
  • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
  • รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)
  • รายชื่อบุคลากร
  • ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร
  • เว็บไซต์หลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ)

Last updated on วันศุกร์, พฤศจิกายน 4, 2022 11:42 AM

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ธรณีฟิสิกส์)
  • Master of Science (Geophysics)

ชื่อย่อ

  • วท.ม. (ธรณีฟิสิกส์)
  • M.Sc. (Geophysics)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

  • ก แบบ ก 1 จำนวน 36 หน่วยกิต
  • ก แบบ ก 2 จำนวน 36 หน่วยกิต

 

ปรัชญาการศึกษา

ปรัชญาการศึกษามหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก่อตั้งขึ้นตามนโยบายการพัฒนาภาคใต้ โดยมีเจตนารมณ์ตั้งแต่แรกเริ่มที่จะให้เป็นมหาวิทยาลัยหลักของภาคใต้ ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นที่การพัฒนาคนเพื่อให้เป็นกำลังหลักของสังคม และยึดตามแนวทางการจัดการศึกษาของชาติที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

ปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงเป็นการจัดการศึกษาตามแนวทาง พิพัฒนาการนิยม (Progressivism) คือ การพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน เพื่อให้พร้อมที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และปรับตัวได้ดีตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป โดย ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ของการเรียนรู้ และพัฒนาจากความต้องการของผู้เรียน ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาและค้นคว้าด้วยตนเอง กระบวนการที่ต้อง ลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่ยั่งยืน และจากแนวคิดที่ว่าการพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้จึงไม่ได้หยุดอยู่เพียงภายในมหาวิทยาลัยแต่จะดำเนินไปตลอดชีวิต การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นถึง การเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วย

จากหลักการดังกล่าวข้างต้นนำสู่ การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ (Outcome Based Education) โดยการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่มหาวิทยาลัยเชื่อว่าสามารถตอบสนองหลักการดังกล่าวได้ คือ การจัดการเรียนรู้ ที่ ใช้กิจกรรมหรือการปฏิบัติ (Active learning) ที่หลากหลาย โดยเฉพาะ การใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ (Problem-based Learning) การใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) และการเรียนรู้โดยการบริการสังคม (Service Learning) และยึดพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก “ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” เป็นแนวทางในการดำเนินการ

ปรัชญาการศึกษาหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิ สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ มุ่งผลิตนักวิชาการที่มีศักยภาพสูง สามารถทำวิจัยเชิงลึกในด้านการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการปัญหาทางด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติ การท่องเที่ยวเชิงธรณี วิศวกรรมและสิ่งแวดล้อม โดยหลักสูตรระดับปริญญาโทเน้นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางธรณีฟิสิกส์ ในขณะที่หลักสูตรระดับปริญญาเอกเน้นบูรณาการความรู้ทางธรณีฟิสิกส์ร่วมความรู้สาขาอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยทั้งสองหลักสูตรมุ่งเน้น การพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมและสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้บริการสังคมทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับสากล รวมทั้งบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติทางธรรมชาติได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของการจัดการศึกษาตามแนวทางพัฒนาการนิยม (Progressivism) ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ เน้นกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self-directed learning) สร้างเสริมการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLOs)

  • PLO 1 ออกแบบวิธีการทางธรณีฟิสิกส์ เพื่อการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ หรือ แก้ปัญหาทางด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือ การท่องเที่ยวเชิงธรณี หรือ วิศวกรรมและสิ่งแวดล้อม
  • PLO 2 ใช้เครื่องมือทางธรณีฟิสิกส์ ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
  • PLO 3 ประยุกต์ความรู้ทางธรณีฟิสิกส์ เพื่อการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ หรือ แก้ปัญหาทางด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือ การท่องเที่ยวเชิงธรณี หรือ วิศวกรรมและสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ภาคใต้
  • PLO 4 แสดงออกถึงการมีจรรยาบรรณทางวิชาการ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
  • PLO 5 สามารถทำงานเป็นทีมทั้งในบริบทของผู้นำและผู้ตามได้
  • PLO 6 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง
  • PLO 7 สื่อสารและนำเสนอผลงานทางวิชาการด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและตรงประเด็น

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 1

36

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

36

หน่วยกิต

แผน ก แบบ ก 2

36

หน่วยกิต

– หมวดวิชาบังคับ

12

หน่วยกิต

– หมวดวิชาเลือก

6

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

18

หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตรพร้อมรายวิชา

แผนการศึกษา

แผนการศึกษาตลอดหลักสูตร

เกณฑ์การรับเข้า

  • แผน ก 1
  1. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หรือหลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการทาวิจัยในสาขาวิชาธรณีฟิสิกส์โดยมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ และมีเอกสารหลักฐานรับรอง โดยอยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  2. มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่สมัครเข้าศึกษา โดยเป็นไปตามประกาศของคณะวิทยาศาสตร์
  3. คุณสมบัติอื่น ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาชั้นบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563
  • แผน ก 2
  1. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หรือหลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 2.50 หรือมีประสบการณ์ในการทางานทางด้านฟิสิกส์ ธรณีฟิสิกส์ หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  2. มีผลการสอบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับรองและสอบมาแล้วไม่เกิน 2 ปี นับจากวันที่สมัครเข้าศึกษา โดยเป็นไปตามประกาศของคณะวิทยาศาสตร์
  3. คุณสมบัติอื่น ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาชั้นบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563

 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาชั้นบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563 และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

  • แผน ก 1
  1. เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ
  2. สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
  3. ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สาเร็จการศึกษาที่กาหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สาเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก
  • แผน ก 2
  1. ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้าร้บฟังได้ และ
  2. สำหรับวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นาเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว
  3. ต้องสอบเทียบหรือสอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศ มีคุณสมบัติอื่นและเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สาเร็จการศึกษาที่กาหนดไว้ในประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง คุณสมบัติและเงื่อนไขของผู้สาเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

 

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

มคอ.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

รายชื่อบุคลากร

บุคลากรสังกัดฟิสิกส์

ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

  • Science Channel
ธรณีฟิสิกส์กับการระเบิดของภูเขาไฟ “ตองกา”
  • Science Channel
วิทยาศาสตร์กับปรากฏการณ์ปราสาทหินพันยอดถล่ม
ดูข่าวทั้งหมดของหลักสูตร

2560

  • ชื่อหลักสูตร
  • ชื่อปริญญา
  • จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร
  • ปรัชญาการศึกษา
  • ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELOs) ระดับหลักสูตร
  • โครงสร้างหลักสูตร
  • แผนการศึกษา
  • เกณฑ์การรับเข้า
  • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
  • รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)
  • รายชื่อบุคลากร
  • ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร
  • เว็บไซต์หลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ)

Last updated on วันศุกร์, พฤศจิกายน 4, 2022 11:42 AM

ชื่อหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม

  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ธรณีฟิสิกส์)
  • Master of Science (Geophysics)

ชื่อย่อ

  • วท.ม. (ธรณีฟิสิกส์)
  • M.Sc. (Geophysics)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

  • ก แบบ ก 1 จำนวน 36 หน่วยกิต
  • ก แบบ ก 2 จำนวน 36 หน่วยกิต

 

ปรัชญาการศึกษา

ปรัชญาการศึกษามหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก่อตั้งขึ้นตามนโยบายการพัฒนาภาคใต้ โดยมีเจตนารมณ์ตั้งแต่แรกเริ่มที่จะให้เป็นมหาวิทยาลัยหลักของภาคใต้ ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นที่การพัฒนาคนเพื่อให้เป็นกำลังหลักของสังคม และยึดตามแนวทางการจัดการศึกษาของชาติที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

ปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงเป็นการจัดการศึกษาตามแนวทาง พิพัฒนาการนิยม (Progressivism) คือ การพัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน เพื่อให้พร้อมที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และปรับตัวได้ดีตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป โดย ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ของการเรียนรู้ และพัฒนาจากความต้องการของผู้เรียน ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาและค้นคว้าด้วยตนเอง กระบวนการที่ต้อง ลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่ยั่งยืน และจากแนวคิดที่ว่าการพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้จึงไม่ได้หยุดอยู่เพียงภายในมหาวิทยาลัยแต่จะดำเนินไปตลอดชีวิต การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยจึงมุ่งเน้นถึง การเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วย

จากหลักการดังกล่าวข้างต้นนำสู่ การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ (Outcome Based Education) โดยการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่มหาวิทยาลัยเชื่อว่าสามารถตอบสนองหลักการดังกล่าวได้ คือ การจัดการเรียนรู้ ที่ ใช้กิจกรรมหรือการปฏิบัติ (Active learning) ที่หลากหลาย โดยเฉพาะ การใช้ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ (Problem-based Learning) การใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) และการเรียนรู้โดยการบริการสังคม (Service Learning) และยึดพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก “ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” เป็นแนวทางในการดำเนินการ

ปรัชญาการศึกษาหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะการวิจัยขั้นสูง พร้อมทั้งมีคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศ

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (ELOs) ระดับหลักสูตร

  1. Describe the physics and geology that form the basis for geophysical observation and measurement.
  2. Apply and integrate advanced principles of physics, mathematics, chemistry, biology and geology to geophysical issues.
  3. Make their own plan and observations with a variety of geophysical instruments, and reduce, model, and interpret their data and uncertainties.
  4. Research, analyze, and synthesize solutions to an original and contemporary geophysics problem.
  5. Apply the principles geophysical methods to societally relevant problems, including natural hazards, resource exploration and management, and environmental issues.
  6. Integrate and apply the geophysical knowledge with practical experiences and by this create intellectual wisdom, virtue, competency and international world-view vision and practice the professional ethics of being a geophysicist.
  7. Evaluate the published literature and effectively communicate their scientific knowledge through reading comprehension of the scientific literature, written and presentations.
  8. Actively engage in geophysical services for communities to enhance the livelihoods of the people based on sufficiency economy principles, work in a multi-cultural society and ability to engage in lifelong learning.

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 1

36

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

36

หน่วยกิต

แผน ก แบบ ก 2

36

หน่วยกิต

– หมวดวิชาบังคับ

14

หน่วยกิต

– หมวดวิชาเลือก

4

หน่วยกิต

– วิทยานิพนธ์

18

หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตรพร้อมรายวิชา

แผนการศึกษา

แผนการศึกษาตลอดหลักสูตร

เกณฑ์การรับเข้า

ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่าและมีเกณฑ์เพิ่มเติม ดังนี้

  • หลักสูตรแผน ก แบบ ก 1ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว
    1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หรือหลักสูตรอื่นๆที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำวิจัยในสาขาวิชาธรณีฟิสิกส์โดยมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ และมีเอกสารหลักฐานรับรอง โดยอยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
    2. คุณสมบัติอื่นๆให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2556
  • หลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 ทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา
    1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หรือหลักสูตรอื่นๆที่เกี่ยวข้อง มีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.50หรือมีประสบการณ์ในการทำงานทางด้านฟิสิกส์ ธรณีฟิสิกส์ หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
    2. คุณสมบัติอื่นๆให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2556

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ช) โดยมีรายละเอียดดังนี้

  1. สอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด
  2. นักศึกษาที่เข้าหลักสูตรแผน ก แบบ ก1 และ แผน ก แบบ ก 2 ต้องนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการอย่างน้อย 1 ครั้ง 
    • แผน ก แบบ ก 1
      • ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้งและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
    • แผน ก แบบ ก 2
      • ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตรโดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้งและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอฉบับสมบูรณ์ (Fullpaper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)ดังกล่าว
  1. ข้อกำหนดอื่นๆให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาพ.ศ. 2556

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)

มคอ.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธรณีฟิสิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560

รายชื่อบุคลากร

บุคลากรสังกัดฟิสิกส์

ข่าวที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

  • Science Channel
ธรณีฟิสิกส์กับการระเบิดของภูเขาไฟ “ตองกา”
  • Science Channel
วิทยาศาสตร์กับปรากฏการณ์ปราสาทหินพันยอดถล่ม
ดูข่าวทั้งหมดของหลักสูตร

เกี่ยวกับคณะ

  • ประวัติ
  • อัตลักษณ์
  • ทีมบริหาร
  • วิดีโอแนะนำคณะ
  • แผนผังคณะ
  • ทุนสนับสนุน
  • รายงานประจำปี
  • MOU

  • ทุนสนับสนุนผลงานวิชาการ
  • รายชื่อบุคลากร
  • PSU-TPSF / UKPSF

  • ประเมินความพึงพอใจในการบริการ
  • แบบฟอร์ม
  • ระบบสารสนเทศ
  • คู่มือ / แนะนำการใช้งาน

  • ติดต่อ

กลุ่มงาน

  • วิชาการ
  • วิจัยและนวัตกรรม
  • พันธกิจเพื่อสังคม
  • บริหาร

ข่าว

  • ทั่วไป
  • รางวัล
  • รับสมัครงาน
  • รับสมัครนักศึกษา
  • จัดซื้อจัดจ้าง
  • New Species
  • Science Channel
  • Podcast
  • สารจากทีมบริหาร
  • ข่าวในสื่อ
  • Newsletter
  • มาตรการ COVID-19

อื่น ๆ

  • บริจาคร่างกาย
  • สมาคมศิษย์เก่า
  • ศูนย์บริการสัตว์ทดลอง
  • ศูนย์บริการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน
  • บริการวิชาการ
  • SCI Publication Clinic

  • ระบบลงเวลาปฏิบัติงาน (Sci App)

  • Facebook
  • Instagram
  • Twitter
  • YouTube
© 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Search this website
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของคุณบนเว็บไซต์ของเรา ศึกษานโยบายและรายละเอียดของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ่านเพิ่มเติม
Cookie SettingsAccept All
Manage consent

Privacy Overview

This website uses cookies to improve your experience while you navigate through the website. Out of these, the cookies that are categorized as necessary are stored on your browser as they are essential for the working of basic functionalities of the website. We also use third-party cookies that help us analyze and understand how you use this website. These cookies will be stored in your browser only with your consent. You also have the option to opt-out of these cookies. But opting out of some of these cookies may affect your browsing experience.
Necessary
Always Enabled
Necessary cookies are absolutely essential for the website to function properly. These cookies ensure basic functionalities and security features of the website, anonymously.
CookieDurationDescription
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Analytics".
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsThe cookie is set by GDPR cookie consent to record the user consent for the cookies in the category "Functional".
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookies is used to store the user consent for the cookies in the category "Necessary".
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Other.
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Performance".
viewed_cookie_policy11 monthsThe cookie is set by the GDPR Cookie Consent plugin and is used to store whether or not user has consented to the use of cookies. It does not store any personal data.
Functional
Functional cookies help to perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collect feedbacks, and other third-party features.
Performance
Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.
Analytics
Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.
Advertisement
Advertisement cookies are used to provide visitors with relevant ads and marketing campaigns. These cookies track visitors across websites and collect information to provide customized ads.
Others
Other uncategorized cookies are those that are being analyzed and have not been classified into a category as yet.
SAVE & ACCEPT
Choose Language
  • ไทยไทย